ADSENCE

 

                         

[หน้าแรก] [เหตุแห่งความสงสัย] [ พุทธโบราณสถาน][ ภูมิศาสตร์][ พุทธสถาปัตยกรรม][ วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล]

[ ภาษาสมัยพุทธกาล][ขนบธรรมเนียมประเพณี][ ตำนาน/งศาวดาร][ ข้อสังเกตเพิ่มเติม]

 

engixon

 ผู้เข้าอ่านตั้งแต่เมษายน 2022 web counter


หลังจากอ่านหน้านี้แล้ว ท่านเห็นด้วยกับข้อมูลหรือไม่โปรดโหวตและดูผลการสำรวจ คลิ้ก ที่ POLLBAGEL

โหวตภาษาไทย

click2

ดูผลโหวต prevoteresult

โดยรวม ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า พระพุทธอุบัติภูมิไม่ได้อยู่ในอินเดียหรือเนปาล แต่อยู่ในสุวรรณภูมิ คือ ไทย ลาว เขมร พม่า และมอญ?

click-2

ExitvoteWebmaster: chaiyongusc@gmail.com
Updated: March, 2022

 

พุทธสถาปัตยกรรมมีความประณีตมากกว่าสถาปัตยกรรมอินเดียหากเทียบพุทคยากับวัดในประทศไทย

สถาปัตยกรรมที่ปรากอยู่ สิ่งปลูกสร้างและเจดีย์ต่างๆ ในประเทศไทย มีลักษณะโดดเด่นในด้านความสวยงาม ประณีต อ่อนช้อย ไม่มีใครเหมือน และยืนยงอยู่เป็นพันๆ ปี

            รูปร่างวัด โบสถ์ และเจดีย์ทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในดินแดนสุวรรณภูมิ มีลักษณะ เด่น แตกต่างจากของ แขกอย่างสิ้นเชิง    

            ในดินแดนสุวรรณภูมิ ไม่ว่าจะเป็นในไทยลาว พม่า มอญ มีวัด วิหาร และโบสถ ์เป็นจำนวนหลายหมื่นแห่ง บางวัดมีอายุกว่า สองพันปี ลักษณะเด่นเหล่านี้ ถ่ายทอด มาถึงวัดไทยในปัจจุบัน แม้จะมีความแตกต่าง กันบ้างในแต่ละภูมิภาค แต่องค์ประกอบ ยังคงเหมือนกัน   

 

วัดเบญจมบพิตรในประเทศไทย

            ส่วนวัดในอินเดียหรือเนปาลในปัจจุบัน มีลักษณะออกไปทางฮินดู ไม่ประณีต แม้แต่พระเจดีย์ ที่พุทธคยาก็มีรูปร่างแปลก ฝีมือการก่อสร้างก็มีความประณีตสู้พระเจดีย์ ในประเทศไทย เช่น ที่วัดอรุณ พระแก้วมรกต พระธาตุพนม จังหวัดหนองคาย หรือ พระมหาเจดีย์ที่ผาน้ำย้อย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นต้น สถานที่สร้าง ครอบพระพุทธรูปปางไสยาสน์จำลอง ที่เมืองซึ่งอ้างว่าเป็นกุสินาราย ก็สร้างพระพุทธรูปปางไสยาสน์ที่พระเศียรหนุนหมอน แต่ในพระคัมภีร์บรรยายว่า ซึ่งประทับนอน โดยใช้พระหัตถ์ขวาหนุนพระเศียร เป็นต้น.

            หากพุทธสถาปัตยกรรมมาจากอินเดีย ทำไม เจ้าของไม่มี อะไรหลงเหลือไว้ให้ลูกหลานได้ภาคภูมิใจ จึงไม่ง่าย ไปหรือ ที่เราจะไปเชื่อว่า เรานำพุทธสถาปัตยกรรม มาจากอินเดีย

            พุทธศิลป มีความ ละเอียดอ่อนมาก ต้องการช่างศิลป ที่มีจิต ศรัทธาในการสร้างสรรค์ ผลงาน และมีนายทุน ที่มีความเลื่อมไสศรัทธา จึงสามารถ สร้างผลงาน พุทธสถาปัตยกรรม ที่ประณีต โดดเด่น ดังที่พบเห็นในวัดโบราณทั้ง ในต่างจังหวัด และในเมืองใหญ่หรือในกรุงเทพมหานคร

พระวิหารมหาโพธิ์ที่พุทธคยา เดิมเป็นโบสถ์พราหมณ์แต่ถูก Francis Buchanan บอกว่า เป็นพุทธ ในปี 1814 และ Alexander Cunningham ยืนยันว่าเป็นเจดีย์พุทธจริง 60 หลังจากนั้น