|
|
|
|
อ่านข้อมูลและเหตุผลที่ขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลที่พบในพระไตรปิฎก คัมภีร์โบราณและจารึกกับที่พบในประเทศอินเดีย/เนปาล โปรดคลิ้ก |
ทำไมภาษาไทย-ลาวจึงมีการทับศัพท์หรือใช้ควบคู่กับภาษาบาลี คือ มีทั้งคำไทยและคำบาลี ในความหมายเดียวกัน เช่น บาลีว่า รุกขะ ไทยว่า ต้นไม้, บาลีว่า นที ไทยว่า แม่น้ำ ใช้เฉพาะบาลีอย่างเดียว เช่น ธรรมชาติ ฯลฯ การนำคำว่า “ว่า” ที่ปกติในภาษาบาลีเวลาเล่าคำพูดของผู้อื่น จะเรียงไว้ท้ายคำที่พูด มาไว้ท้ายคำพูดเหมือนภาษาบาลี เช่น บาลีเรียงว่า เขา – ดีแล้ว – ว่า – กล่าว ฯ (นี่คือลักษณะการเรียงรูปประโยคพื้นฐานของภาษาบาลี)ไทยเรียงว่า เขา – กล่าว – ว่า – ดีแล้ว ฯ ซึ่งลักษณะการเรียงรูปประโยคแบบดังกล่าวที่พบในปัจจุบันบางครั้ง คือ ภาษาไทย... ว่างั้น ภาษาลาว-อีสาน .... ว่าซั่น, ....พะนะว่า, ....ว่าติ ...ว่าซั่มสา,...ว่าเด้....ผัดว่า,ผะวะ(ออกสำเนียงอีสานเอาเองนะครับ) เช่น บาลี : ภุญฺชินฺติฯ --> (เขา) “กินแล้ว” ว่า (กล่าว) ฯ ... บาลี ใช้ “อิติ” ซึ่งแปลว่า “ว่า” คำเดียว ตามหลัง บอกให้รู้ว่าเป็นคำพูด ไทย : “กินแล้ว” ว่างั้น ลาว : “กินแล้ว” ว่าซั่น, “กินแล้ว” พะนะว่า ฯลฯ ประเพณีเผาศพแบบอินเดียกับแบบพุทธ ชาวไทย ลาว เขมร ทำพิธีเผาศพให้ไหม้จนเหลือแต่กระดูก แล้วเก็บกระดูกไว้บูชาส่วนหนึ่ง ฝังไว้ที่วัดส่วนหนึ่ง ตรงตามเรื่องราวที่ปรากฏในพระไตรปิฎก... แต่ที่อินเดีย จะนำศพไปเผาให้ไหม้แต่ไม่หมดแล้วปล่อยศพลอยแม่น้ำ โดย อาตม ศิโรศิริ
|
ว่าด้วยนกมัยหกะ (นกเขาคู)ที่ร้อง จุกๆ กู ที่มาของ "ของกูๆ" ตามเสียงร้อง และพระนำไปสอนเป็นปริศนาธรรม แสดงว่า เสียงร้องของนกเขา สอดคล้องกับเสียงในภาษาไทย คือ กู หาก ชาวเมืองสาวัตถีมีคำศัพท์ว่า “ กู ” ที่มีความหมายว่า “ เรา – ข้าฯ ( I ) ” ก็แสดงว่าเมืองสาวัตถีไม่ได้อยู่ที่อินเดีย เพราะที่อินเดียคำว่า กู หรือ คู (เสียงร้องของนกเขา) มิได้มีความหมายว่า เรา–ข้าฯ ( I ) เลย .. (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ) ภาษาเขียนมีมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล การสังคายนาพระไตรปิฎกจารึกโดยใช้อักษรธรรม (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ) พืชพันธุ์ไม้ในพระไตรปิฎก กว่า ๒๖๔ ชนิด ล้วนเป็นพืชที่มีอยู่ในเมืองไทยทั้งนั้น แม้ชื่อจะเปลี่ยนแปลงไปแต่พบเห็นได้ในปัจจุบัน (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ)
ข้าวเหนียวมีในพระไตรปิฎก:
ทำนาข้าวเหนียวในเมืองโกสัมพี และเมืองสาวัตถี
พระพุทธองค์และพระภิกษุในสมัยพระพุทธกาลเสวยและฉันข้าวเหนียว
ทีหลักฐานปรากฏในพระไตรปิฎกหลายแห่ง กล่าวคือ
อรรถกถาวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ทุติยภาค
วินัยปิฎกเล่มที่ 2 มหาวิภังค์ ทุติยภาค
และวินัยปิฎกเล่มที่
3 ภิกขุนีวิภังค์
โดย
อาจารย์อาตม
ศิโรศิริ
"ทัศนะว่าด้วยค่านิยมเกี่ยวกับช้าง ความหมายของหิมพานต์ สังข์ สมุนไพร และระยะทางระหว่างเมืองในพระไตรปิฎก: สนทนากับ ดร.ชัยยงค์" (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ) |
ขอเชิญท่านแสดงความคิดเห็นโต้แย้งและคัดค้านในเว้ปบอร์ด โปรดเยี่ยม BUDDHABIRTHPLACEในเว้ปบอร์ดพลังจิต
|
FastCounter by LinkExchange
Updated: October 2003
Webmaster: chaiyong@iname.com