[เหตุแห่งความสงสัย] [ พุทธโบราณสถาน][ ภูมิศาสตร์][ พุทธสถาปัตยกรรม][ วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล][ ภาษาสมัยพุทธกาล] <<<[หน้าบ้าน] [ ขนบธรรมเนียมประเพณี][ ตำนาน/งศาวดาร][ ข้อสังเกตเพิ่มเติม] <<<[หน้าแรกภาษาไทย]

 

 

 

 

 

ความเห็น/ข้อมูลจากสมาชิก 

ประเพณีเผาศพแบบอินเดียกับแบบพุทธ ชาวไทย ลาว เขมร ทำพิธีเผาศพให้ไหม้จนเหลือแต่กระดูก แล้วเก็บกระดูกไว้บูชาส่วนหนึ่ง ฝังไว้ที่วัดส่วนหนึ่ง ตรงตามเรื่องราวที่ปรากฏในพระไตรปิฎก... แต่ที่อินเดีย จะนำศพไปเผาให้ไหม้แต่ไม่หมดแล้วปล่อยศพลอยแม่น้ำ โดย อาตม ศิโรศิริ

ภาษาไทยพัฒนามาจากภาษาอินเดียจริงหรือ? จาก "พุทธอุบัติภูมิอยู่ที่ประเทศไทย...ชมพูทวีปก็อยู่ที่ประเทศไทย" โดย คุณเอกอิสโร วรุณศรี

ภาษาเขียนมีมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล การสังคายนาพระไตรปิฎกจารึกโดยใช้อักษรธรรม (โดย คุณอาตม ศิโรศิริ)

 พืชพันธุ์ไม้ในพระไตรปิฎก กว่า ๒๖๔ ชนิด ล้วนเป็นพืชที่มีอยู่ในเมืองไทยทั้งนั้น แม้ชื่อจะเปลี่ยนแปลงไปแต่พบเห็นได้ในปัจจุบัน  (โดย คุณอาตม ศิโรศิริ)

ข้าวเหนียวมีในพระไตรปิฎก: ทำนาข้าวเหนียวในเมืองโกสัมพี และเมืองสาวัตถี  พระพุทธองค์และพระภิกษุในสมัยพระพุทธกาลเสวยและฉันข้าวเหนียว ทีหลักฐานปรากฏในพระไตรปิฎกหลายแห่ง กล่าวคือ  อรรถกถาวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ทุติยภาค วินัยปิฎกเล่มที่ 2 มหาวิภังค์ ทุติยภาค และวินัยปิฎกเล่มที่ 3 ภิกขุนีวิภังค์ โดย อาตม ศิโรศิริ

ว่าด้วยนกมัยหกะ (นกเขาคู)ที่ร้อง จุกๆ กู ที่มาของ "ของกูๆ" ตามเสียงร้อง และพระนำไปสอนเป็นปริศนาธรรม แสดงว่า เสียงร้องของนกเขา สอดคล้องกับเสียงในภาษาไทย คือ กู  หาก ชาวเมืองสาวัตถีมีคำศัพท์ว่า กู ที่มีความหมายว่า    “ เรา ข้าฯ  ( I )  ก็แสดงว่าเมืองสาวัตถีไม่ได้อยู่ที่อินเดีย เพราะที่อินเดียคำว่า กู หรือ คู (เสียงร้องของนกเขา) มิได้มีความหมายว่า เรา ข้าฯ ( I ) เลย .. (โดย อาตม ศิโรศิริ)

"สาระสำคัญจากจารึกวัดศรีชุม" พระมหาเถระศรีศรัทธาราชมุณี หลานขุนศรีอินทรบดินทราทิตย์ (ขุนศรีอินทราทิตย์) เมื่อออกบวชแล้วได้สร้างพระธาตุวัดศรีชุม สำเร็จและได้นำพระพุทธรูปที่แตกหักเหลือแต่เศียรบ้าง แขน บ้าง ฯลฯ จากเมืองปาตาลีบุตรซึ่งอยู่ห่างออกไป ๒-๓ คืน และปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปเหล่านั้นจนสำเร็จ (โดย คุณเอกอิสโร วรุณศรี)

"พระเจ้าอโศก" อโศกอินเดีย กับพระเจ้าอโศกที่ทำสังคายนาพระไตรปิฎกเป็นคนละองค์แน่นอน  (โดย คุณเอกอิสโร วรุณศรี)

"เมืองระแวกของพระเจ้าอโศกมหาราช"  ลักษณะของเมืองที่สะท้อนให้เห็นว่า เมืองระแวกของพระเจ้าอโศก   คือกำแพงเพชร  (โดย คุณเอกอิสโร วรุณศรี)

"พระพุทธศาสนาในอินเดีย-เนปาล"  มีอยู่จริงหรือแค่แอบอ้างโดยชาวฮินดูเพื่อเชิดชูตนเอง (โดย คุณนงลักษณ์ สุขสวัสดิ์)

"พุทธะในความคิดของชาวอินเดีย" การดึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นปางหนึ่งของพระ (โดย คุณนงลักษณ์ สุขสวัสดิ์)

"เราเป็นใคร มาจากไหน กำลังจะไปไหน?" ข้อมูลสะท้อนความเชื่อที่ว่า สุวัณณภูมิคือบ่อเกิดแห่งอารยธรรม (โดย คุณนงลักษณ์ สุขสวัสดิ์)

"ชมพูทวีปอยู่ที่เมืองไทยตามพระนิพนธ์สมเด็จพระวันรัตน์ ในสมัยรัชกาลที่ ๑" บันทึกฉบับย่อ

"ทัศนะว่าด้วยค่านิยมเกี่ยวกับช้าง ความหมายของหิมพานต์ สังข์ สมุนไพร และระยะทางระหว่างเมืองในพระไตรปิฎก: บทสนทนา" (โดยคุณอาตม ศิโรศิริ)

  "ประสบการณ์จากสมาธิ ภาพฝัน และภาพอนาคต: คำยินยัน: พระพุทธเจ้าเป็นคนไทย เกิดในเมืองไทย" (โดย คุณวีระชัยจากอังกฤษ)

 

[เหตุแห่งความสงสัย] [ พุทธโบราณสถาน][ ภูมิศาสตร์][ พุทธสถาปัตยกรรม][ วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล][ ภาษาสมัยพุทธกาล] <<<[หน้าบ้าน] [ ขนบธรรมเนียมประเพณี][ ตำนาน/งศาวดาร][ ข้อสังเกตเพิ่มเติม] <<<[หน้าแรกภาษาไทย]