ธรรมะวันละหน่อย (๒๕)
โสฬสญาณ คือ บันใด ๑๖ ขั้น พามนุษย์ให้พ้นจากความมืด
โดย
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
โสฬสญาณ คือ บันใด ๑๖ ขั้น
พามนุษย์ให้พ้นจากความมืด
การปฏิบัติธรรมเพื่อการหลุดพ้นก็เหมือนพวกเราที่อยู่ใต้ถุนอาคารหรือคอนโดที่มี
๔ ชั้นและมีชั้น ๕ เป็นดาดฟ้า
ชั้นหนึ่งคือใต้ถุนอาคารจากพื้นไปถึงชั้นที่สองก็มีบันได ๑๖
ขั้น
จากชั้นที่สองขึ้นชั้นสาม ชั้นสี่
และขึ้นดาษฟ้าแต่ละชั้นก็มี ๑๖ ขั้น แต่ความสูงจะต่างกัน
จะเห็นได้จากมุมมองลงมาข้างล่างจะไม่เหมือนกัน
ยิ่งสูงตัวก็หนักขึ้นจึงเดินยากขึ้น
ผู้ที่ยังยืน
เดิน นั่งอยู่ใต้ถุนอาคาร ก็จะไม่ได้รับแสงตะวัน
จะยังมีเงาปกคลุม จึงเรียกว่า ปุถุชน แปลว่า ผู้ยังมืด
(คือมืดแปดด้าน มีอะไรบ้าง เคยอ่านพบแต่จำไม่ได้ เข้าใจว่า
อย่างน้อยก็ยังมี หลง โลภ และโกรธ
ใครทราบช่วยบอกด้วยจะได้บุญเยอะๆ)
เมื่อเริ่มเดินขึ้นบันใดก็เริ่มจะได้แสงตะวัน
จะก้าวขึ้นขึ้นที่ ๑ คือ แยกนามรูปได้ เบื่อหน่ายในรูปนาม
เห็นรูปนามเป็นโทษ เห็นรูปนามเป็นภัย อยากทิ้งรูปนาม
พอทิ้งไม่ได้ก็วางเฉยในรูปนาม แต่เริ่มมีสติ
เดินเข้าสู่เส้นทาง หากขับรถก็เลิกขับลงเหว ลงห้วย
หรือป่าละเมาะ เมื่อขับไปตามเส้นทางแล้ว ก็ผ่านอู่ล้าง
ก็ขับเข้าไปล้างทำให้ฝุ่นธุลีในรถ
(กิเลสอย่างหยาบ)ก็ถูกล้างไปหลังเหลืออย่างละเอียดเช่นความชื้นและเชื้อโรคเชื้อรา
แล้วขับเข้าไปอบความร้อนเพื่อทำให้เชื้อโรคและความชื้นหาย
(กิเลสอย่างละเอียดจะถูกเผาผลาญในญาณนี้)
เมื่อขับออกมาหรือเดินถึงขั้นที่ ๑๕ ก็ถึงผลญาณ
จุดหมายขึ้นถึงอาคารหรือคอนโดชั้นที่สอง
คือบรรลุเป็นพระโสดาบัน แล้วก็เหยียบบันใดขั้นที่ ๑๖
ซึ่งก็คือพื้นชั้นสองเพื่อทบทวนการเดินทางที่ผ่านมา
เมื่อถึงคอนโดฯชั้นที่สองแล้ว ก็ไม่หยุด อยู่แค่นี้
ยังคงเดินต่อไปถึงคอนโดชั้น ๓ (เป็นพระสกิทาฯ)
เดินขึ้นบันใดต่อไปเพื่อขึ้นชั้น ๔ เป็นพระอนาคาฯ
และเดินขึ้นดาดฟ้า ติดจรวดเป็นพระอรหันต์
ดังนั้นบันใดทั้ง ๑๖ ขั้น คือ ญาณ ๑๖ (โสฬสญาณ)
จึงเป็นทางสายเอก แต่การจะขึ้นบันใดทั้ง ๑๖
ขั้นต้องใช้มหาสติปัฏฐาน ๔ อย่างเดียวเท่านั้น
เพื่อยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา
เหมือนเครื่องบินหรือจรวดหากล้อไม่พ้นจากพื้นดินก็ไม่สามารถจะบินได้
แล้วท่าน จะไม่ลองก้าวขึ้นบันไดหรือครับ
เดินอย่างเดียว นั่งอย่างเดียว มีสติทุกเมื่อ พิจารณากาย
เวทนา จิต และธรรม ย่อมหลุดพ้นได้แน่นอน
ผู้มีจิตมุ่งมั่นย่อมทำอาสวะให้สิ้นได้ในชาตินี้ ตั้งแต่ ๗
วัน ถึง ๗ ปี
แล้วท่านก็จะได้รับการดาวน์โหลดความจริงว่า
พระพุทธเจ้าทั้งหลายอยู่ในสภาวะใด พระพุทธเจ้าทั้ง ๔
พระองค์ในภัทรกัปป์นี้อุบัติขึ้นที่ใด
ก็สามารถตรวจสอบพระธรรมรังสีที่ยังหลงเหลืออยู่ได้
ในนัยเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์ใช้เครื่องตรวจสอบกัมมันตภาพรังสีที่ฮิโรชิมาและนางาซากิด้วยเครื่องไอโซโทป
การตรววัดพระพุทธรังสีและพระธรรมรังสี กระทำได้เมื่อบรรลุญาณ
๑๖ เท่านั้น แค่ ๑๖ ขั้นแรกก็รู้ได้เฉพาะตนแล้ว
พวกที่ยังอยู่ใต้ถุนคอนโดก็ได้แต่จินตนาการเอาเองว่า
บนคอนโนฯมีอะไร เถียงกันหน้าดำหน้าแดง
เหมือนตาบอดคลำช้างที่เถียงกันว่า ช้างมีรูปร่างอย่างไร
ปัญญาแปลว่า สว่าง นะครับ แต่ปัญญาจะเกิดก็ต้องมีแสง
เมื่อม่แสง ความสว่างก็จะมาเอง เราต้องทำให้มีแสง
เพราะไม่มีแสง (แสงเทียน แสงไฟ แสงจากหลอดไฟ)
จะเกิดความสว่างได้อย่างไร
เราก็จะอยู่ในความมืดมิดชั่วนิจนิรันตร์
ขออำนวยพรให้ทุกท่านประสบความสำเร็จในการเดินขึ้นบันใดนะครับ
ถึงแค่ชั้นหนึ่งก็จะไม่เสียชาติเกิดมาเป็นมนุษย์
ท่านมีความเห็นอย่างไรกับทัศนะนี้ โปรดโหวต:
https://pollbagel.com/polls/7878?t=26706431GWM
ดูผลการโหวต โปรดคลิ้กที่นี้
https://pollbagel.com/polls/7878/results?t=26706431GWM
ทำไมสถาบันการศึกษาต้องมีธรรมนูญหรือกฎบัตรองค์กร
โดย ศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ปัญหาที่มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาทุกระดับเผชิญอยู่ในขณะนี้คือ
การบริหารและการจัดการแบบตัดตอน (Transactions) แทนที่จะเป็นการบริหารและการจัดการแบบเปลี่ยนผ่าน
(Transformation) ทำให้การบริหารและการจัดการขาดความต่อเนื่องเพราะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภามหาวิทยาลัย
หรือ
เปลี่ยนแปลงอธิการบดี
โครงการหรือกิจกรรมที่กำลังดำเนินอยู่ก็อาจถูกระงับโดยผู้บริหารชุดใหม่
สภาสถาบันและผู้บริหารระดับอธิการบดี
ผู้อำนวยการ
อาจารย์ใหญ่
หรือครูใหญ่
ส่วนใหญ่บริหารและจัดการตามความคิดของตัวเอง
แม้จะมีสภาสถาบันหรือคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นองค์คณะบุคคลในการกำหนดอุดมการณ์
(ปรัชญา ปณิธาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ)
เป้าหมาย นโยบาย
มาตรการ กลยุทธ์
และตัวบ่งชี้ก็ตาม
แต่สภาสถาบันและคณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่ไม่ดำเนินตามบทบาทและอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
หรือ
แสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ตามดุลยพินิจตนเองจนบ่อยครั้งเกิดความเสียหายแก่สถาบัน
(ไฟล์
ตัวอย่างธรรมนูญมหาวิทยาลัย
PDF โปรดคลิ้ก)
บทความในรอบสิบปี (2553-2563)
แม้จะมีกรรมทำให้เกิดเป็นสุนัข
แต่ก็ยังมีใจรักในการปฏิบัติธรรม
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
คำทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดในประเทศไทยโดยหลวงพ่อฤษีลิงดำ
(อ่านต่อโปรดคิด)
น้ำท่วมไทยอาเพทภัยจากกรรมที่คนทำต่อแผ่นดิน
(อ่านต่อโปรดคิด
คุณลักษณะที่ยิ่ง
๑๐ ประการ สำหรับนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทยที่ชื่อยิ่งลักษณ์-
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
ฯพณฯ
สุวิทย์ คุณกิตติ-วีรบุรุษสงครามปกป้องบริเวณเขาพระวิหาร
จากการรุกล้ำอธิปไตยของเขมร
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
ภาพพจน์นักการเมืองไทย-ไม่มียุคใดเสื่อมทรามถูกเปรียบเปรยเป็นสัตว์เหมือนยุดนี้
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การยกเลิกกฎหมายละเมิดพระมหากษัตริย์-ทำเพื่อใคร
อะไรอยู่เบื้องหลัง
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
แนะนำระบบการศึกษาไร้พรมแดน
มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
Bangkokthonburi's
Borderless Education System: A Brief Introduction
(English
Please Click)
เสรีภาพทางวิชาการ-มีมากมายถึงกับจะพูดเข้าข้างศัตรูของชาติและท้าทายกฎหมายเชียวหรือ?
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การสลายพันธมิตรที่ชุมนุมโดยสันติ-ไม่กลัวการนับถอยหลัง
ไปสู่จุดจบของรัฐบาลหรือ?
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
นายกรัฐมนตรีและรัฐบาลกับการรักษาอธิปไตยของชาติ-สมคบกันเข้าข้างเขมร
อย่างน่าสลดใจที่สุด!
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
!
(อ่านต่อโปรดคลื้ก)
่
ดินแดนไทยติดชายแดนเขมรที่เป็นค่ายอพยพของสหประชาชาติ
ไทยปล่อยให้เขมรเข้ามาครอบครองตั้งแต่
พ.ศ. 2522 ได้อย่างไร?(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง-ความคิดชวนตำหนิ
ของผู้บริหารประเทศที่หลงใหลฝรั่งจนลืมความเป็นไทย
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การเมือง:
กรณีพิพาทเขาพระวิหาร-ข้อเท็จจริงที่ทำไม
เขมรจึงปกป้องบันทึกความเข้าใจ
พ.ศ.2543-
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
คุณธรรม:
คารวะ
"แม่"
แห่งแผ่นดินไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
คุณธรรม:
โสฬสมาตาคติ:
ข้อควรรำลึกถึงพระคุณแม่
16 ประการ-
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การเมือง
"คำถามค้างใจกรณีไทยเกือบจะเสียดินแดนรอบ
เขาพระวิหาร-เป็นเพราะความไม่สนใจปัญหา
ความหวาดกลัว
หรือความไม่ไวต่อสถานการณ์ของรัฐบาล"-
.(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การเมือง
การล้มเจ้าล้มสถาบัน-เหตุอันควรประท้วงดวงวิญญาณบรรพบุรุษ
"เสื่อผืนหมอนใบ"ที่เข้ามาพึ่งพระโพธิสมภารแต่ปล่อยให้ลูกหลานเนรคุณเจ้าของแผ่นดิน"(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การเมือง
"ลักษณะสำคัญของการศึกษาที่เมืองไทยหลงทางมากกว่าร้อยปี"
- (อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การเมือง
"คุณธรรมนำการปรองดอง-เพียงยึดหลักนิติรัฐ
ความปรองดองจะเกิดขึ้นในบ้านเมือง"
(คลิ้กเพื่ออ่านต่อ)
การศึกษา
"การศึกษาระดับปริญญาโท-เอกในเมืองไทยและต่างประเทศ:
จุดด้อย จุดเด่นที่ควรส่งเสริมและค่านิยมที่ควรพัฒนา"-
(คลิ้กเพื่ออ่านต่อ)
ธรรมะกับชีวิต
"ฮวงจุ้ยที่"
ไหนจะสู้ "ฮวงจุ้ยใจ":
ความหลงผิดในศาสตร์ลมและน้ำของจีน
(อ่านต่อโปรดคลิ้ก)
การบ้านการเมือง
"5
อย่า"เพื่อความอยู่รอดของชาติ:
อย่ายุบสภา
อย่าปรองดองกับคนไม่ดี
อย่านิรโทษกรรมคนทำชั่ว
อย่าเกรงใจนักการเมืองเห็นแก่ตัว
และอย่าแก้ไขรัฐธรรมนูญ
(คลิ้กเพื่ออ่านต่อ)
ธรรมะกับชีวิต
ความรักของนกกระจิบ-ข้อเตือนใจคนที่ควรเอาเป็นตัวอย่าง
(คลิ้กเพื่อดูภาพและคำบรรยาย)
|
อ่านตำนานเมืองร้อยเอ็ดใหม่
โปรดคลิ้ก
คติประจำใจ:
"ปราศจากความพยายามที่ทุรนทุราย
จะหาความเป็นเลิศ มิได้เลย"
ประธาน
มูลนิธิศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์
พรหมวงศ์
อดีต:
ดร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์
ศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ ในชุดครุยผู้บริหาร มสธ.หนึ่งในผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราชและเป็นผู้พัฒนา
ระบบการสอนทางไกล "แผนมสธ." อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมการ
(Dhammakaya Open University-DOU), Asuza, California (2001)
อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
อนุกรรมาธิการอุดมศึกษา
วุฒิสภา
และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
คณะกรรมาธิการการศึกษา ศาสนา
และวัฒรธรรม วุฒิสภา
รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
และรองอธํิการบดีฝ่ายวิจัยและบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรม
เผยแพร่และประชาสัมพันธ์
สถาบันพระปกเกล้า
ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
UNESCO/UNDP
Expert (Indonesia, Sri Lanka, Maldives, Laos, Malaysia, Japan, India, Pakistan)
โปรดคลิ้ก
ใใบประกาศเกียรติคุณผลงานศาสตราจารย์
ดร.ชัยยงค์
พรหมวงศ์
ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน
Who's
Who
in
the
World
(Twenty
Seventh
Edition
2010)
โดยความเห็นชอบของ
Marquist
Who's
Who
Publication
Board
สหรัฐอเมริกา
ในฐานะผู้ที่สร้างผลงานทางวิชาการ
และวิชาชีพดีเด่น
และได้บำเพ็ญตนเป็นประโยชน์
ต่อความเจริญของสังคม
บทความเก่า
2549-51
ประชาธิปไตยเมืองไทยแบบพรรคเดียว
กำลังละม้ายสถานการณ์อดีตเผด็จการประชาธิปไตย
ของอินโดนีเซีย
เศรษฐาณานิคม:
วิวัฒนาการการล่าอาณานิคมจากอิสต์อินเดีย
ของอังกฤษในยุคเดิม มาเป็นเทมาเสกของสิงคโปร์ในยุคโลกาภิวัฒน์
ดร.ทักษิณเก่งจริงหรือมีอะไรเป็นปัจจัย
เกื้อหนุน-
-บุญวาสนา ความสามารถ โอกาส
หรือการผู้ขาด?
สาระสำคัญที่มิได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ:
สาระที่อาจต้องใช้อำนาจตามมาตรา 7เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของบ้านเมือง
คุณลักษณะ
๑๐ ประการสำหรับผู้นำประเทศ
ผู้ว่าซีอีโอ-ความสับสนในการบริหาร
ราชการแผ่นดิน
ระหว่างการบริหารราชการกับการบริหารราชกิจ
วิกฤตค่านิยม--สามเหรียญ
สามค่า
สาเหตุแห่งความขัดแย้ง:
ความเก่งกับความดี
ความร่ำรวยกับความพอเพียง
และความรักปกป้องตนเองกับพวกพ้อง
กับความรักปกป้องชาติ
|